Published by Crackers Books, 10 February 2024

Historical Bloc

Historical Bloc: A Concise Overview


The concept of the "Historical Bloc" originates from the Marxist theorist Antonio Gramsci and is central to his political and social theory. Here are five key points about the Historical Bloc:


  1. Unity of Material Forces and Ideologies: The Historical Bloc refers to the unity between the material forces (economic structure) and ideological superstructures (political, legal, cultural institutions) of society. Gramsci proposed that changes in the material base of society are mirrored in the superstructures, suggesting a dialectical relationship between the two (Sotiris, 2018)(Sotiris, 2018).
  2. Formation of Social Alliances: The Historical Bloc concept also involves the formation of alliances among various social classes and groups. Gramsci emphasized the importance of these alliances for achieving a hegemonic culture that could lead to social transformation (Yilmaz, 2014)(Yilmaz, 2014).
  3. Role in Hegemony: In Gramsci’s theory, the Historical Bloc is central to the idea of hegemony, where a dominant social group exercises leadership over allied groups not just through coercion but also by cultural and ideological means, creating a consented form of dominance (Buckel & Fischer-Lescano, 2009)(Buckel & Fischer-Lescano, 2009).
  4. Instrument in Analyzing Global Order: The concept has been adapted to analyze the global political order, particularly in examining the rise of new international governance models and hegemonic relationships beyond nation-states (Yilmaz, 2014)(Yilmaz, 2014).
  5. Contemporary Relevance: The Historical Bloc concept remains relevant in contemporary analyses of social and political phenomena, providing insights into the dynamics of power, culture, and social change in various contexts (Torres, 2013)(Torres, 2013).


Conclusion

The Historical Bloc concept is instrumental in understanding the interplay between material conditions and ideological structures in society, offering a comprehensive framework for analyzing social change, power relations, and hegemonic processes.







Bibliography

  1. Buckel, S., & Fischer-Lescano, A. (2009). Gramsci Reconsidered: Hegemony in Global Law. Link
  2. Sotiris, P. (2018). Gramsci and the Challenges for the Left: The Historical Bloc as a Strategic Concept. Science & Society, 82(1), 94-119. Link
  3. Torres, C. (2013). Neoliberalism as a new historical bloc: a Gramscian analysis of neoliberalism’s common sense in education. Link
  4. Yilmaz, S. (2014). China, Historical Blocs and International Relations. Link


Recommended Citation

Crackers Books. (2024, February 10). Historical Bloc: A Concise Overview [Crackers Basics]. Retrieved from https://crackersbooks.com/basics-016-historical-bloc

Facebook Logo Vector
Youtube Official Icon
TikTok Logo Icon

สวัสดีครับ พบกับ Episode ที่ 16 ของรายการ Crackers Basic Podcast นะครับ


เพราะว่าเรื่องราวรอบตัวเรามีความซับซ้อน

และไม่อาจเข้าใจได้ หากเราไม่มี basic concenpts ที่ “ดีและมากพอ” นะครับ


Episode 16 วันนี้อธิบายแนวคิดเรื่อง “Historical Bloc” หรือ “กลุ่มประวัติศาสตร์” ของกรัมชี่ ครับ


Episode นี้สนับสนุนโดย ร้านข้าวมันไก่ศรีวัย ซอยโพธิ์ทิพย์ กลางเมืองอุตรดิตถ์ และ

ร้านขนมปังโฮมเมด Craft Breads by Crackers Books ครับ



โอเค เรามาเริ่มกันเลยครับ



กลุ่มประวัติศาสตร์: ภาพรวมโดยย่อ


แนวคิดของ “กลุ่มประวัติศาสตร์” มีต้นกำเนิดจากนักทฤษฎีมาร์กซิสต์ อันโตนิโอ กรัมชี่ และเป็นหัวใจสำคัญในทฤษฎีการเมืองและสังคม​ของเขา นี่คือ 5 ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับกลุ่มประวัติศาสตร์:


1. แนวคิดนี้อธิบาย “ความเป็นเอกภาพของพลังทางวัตถุและอุดมการณ์” : กลุ่มประวัติศาสตร์หมายถึงความเป็นเอกภาพระหว่างพลังทาง​วัตถุ (โครงสร้างทางเศรษฐกิจ) และโครงสร้างทางอุดมการณ์ (สถาบันการเมือง กฎหมาย วัฒนธรรม) ของสังคม กรัมชี่เสนอว่า การ​เปลี่ยนแปลงในฐานะทางวัตถุของสังคมจะสะท้อนในโครงสร้างทางอุดมการณ์ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์แบบวิภาษวิธีระหว่างสองส่วน​นี้ (Sotiris, 2018)

2. การสร้างพันธมิตรทางสังคม: แนวคิดกลุ่มประวัติศาสตร์อธิบายการสร้างพันธมิตรระหว่างชนชั้นและกลุ่มทางสังคมต่างๆ กรัมชี่ย้ำถึง​ความสำคัญของพันธมิตรเหล่านี้ในการสถาปนาอำนาจนำ ซึ่งอาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมได้ (Yilmaz, 2014)

3. บทบาทในทฤษฎีการครองอำนาจนำ: ในทฤษฎีของกรัมชี่ กลุ่มประวัติศาสตร์เป็นหัวใจสำคัญในแนวคิดการครองอำนาจนำ ซึ่งกลุ่มทาง​สังคมที่มีอำนาจมีการนำที่มีอิทธิพลเหนือกลุ่มพันธมิตร ไม่เพียงแต่โดยการบังคับเท่านั้น แต่ยังโดยวิธีทางวัฒนธรรมและอุดมการณ์ เพื่อ​สร้างรูปแบบการครองอำนาจที่ได้รับการยอมรับ (Buckel & Fischer-Lescano, 2009)

4. การประยุกต์ใช้ แนวคิดนี้ถูกนำมาปรับใช้ได้หลายระดับ ทั้งเพื่อวิเคราะห์ระเบียบการเมืองโลก โดยเฉพาะในการตรวจสอบการเกิดขึ้น​ของรูปแบบการปกครองระหว่างประเทศแบบใหม่และความสัมพันธ์การครองอำนาจนำที่เกินกว่ารัฐชาติ รวมไปถึงการนำมาใช้อธิบาย​การเมืองภายใน ลองค้นหาสำนักนเรศวร (Yilmaz, 2014)

5. ความสำคัญในยุคปัจจุบัน: แนวคิดกลุ่มประวัติศาสตร์ยังคงมีความสำคัญในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมและการเมืองในยุค​ปัจจุบัน โดยให้ความเข้าใจในเรื่องพลัง อำนาจ วัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในบริบทต่างๆ (Torres, 2013)


บทสรุป

แนวคิดกลุ่มประวัติศาสตร์มีความสำคัญในการทำความเข้าใจการประสานกันระหว่างสภาพทางวัตถุและโครงสร้างทางอุดมการณ์ใน​สังคม โดยเสนอกรอบการวิเคราะห์ที่ครอบคลุมในการทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ และกระบวนการ​การครองอำนาจนำ


และสำหรับท่านที่สนใจ หนังสือของสำนักพิมพ์ Crackers Books นะครับ สามารถทักมาสั่งหนังสือได้ที่เพจของเรา หรือไลน์ OA: ​@crackersbooks

ตอนนี้เรามีหนังสือใหม่ว่าด้วยการส่งออกประชาธิปไตยของสหรัฐอเมริกา เขียนโดย อ.ชุติเดช เมธีชุติกุล จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย​รังสิตครับ รวมถึง Crack/ลัทธิมาร์กซ์/101 และเล่มอื่นๆจะทยอยตามมาในอีกไม่นานครับ


ก่อนจากกัน ฝากทุกท่านอย่าลืมติดตาม เพจ Facebook: CrackersBooks ของเรา รวมถึงแวะไปเยี่ยมเยือนเว็บไซต์ ​CrackersBooks.com เพื่อพบกับสาระดีๆมากมายในหลายรูปแบบทั้ง blogs, basics, paper crunch, free reads รวมถึงของที่ระลึก​ต่างๆบน Shopee ของเราครับ


พบกันใหม่ใน The Basic-Podcast Ep หน้า ทุกวันพฤหัส ทาง CrackersBooks.com/podcasts หรือทาง Spotify, Apple Podcast ​และ YouTube ครับ